On This Day | คาร์ล มาร์กซ (Karl Marx)

Last updated: 14 มี.ค. 2564  |  7497 จำนวนผู้เข้าชม  | 

On This Day | คาร์ล มาร์กซ (Karl Marx)

ON THIS DAY : คาร์ล มาร์กซ (Karl Marx) เสียชีวิตในวันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1883 ที่กรุงลอนดอนด้วยวัย 65 ปี

คาร์ล มาร์กซ (1818 - 1883) นักเศรษฐศาสตร์ นักปรัชญา และนักปฏิวัติชาวเยอรมัน ต้นกำเนิดแนวคิดมาร์กซิสต์ที่ส่งอิทธิพลต่อโลกทุนนิยมและการพัฒนาคอมมิวนิสต์สมัยใหม่ ชื่อของเขามักปรากฏอยู่ตามหน้าหนังสือวิชาเศรษฐศาสตร์และการเมืองอยู่บ่อยครั้ง

เป็นที่รู้กันอย่างกว้างขวางว่าแนวคิดของมาร์กซคือรากฐานของลัทธิคอมมิวนิสต์ โดยมาร์กซได้เผยให้เห็นว่าระบบทุนนิยมคือการทำลายตัวเองอย่างแท้จริง สหภาพแรงงานที่โดนนายทุนกดขี่ท้ายที่สุดจะออกมาต่อสู้จนมีอำนาจเอาชนะนายทุนได้ แนวคิดนี้ยังเป็นต้นกำเนิดของลัทธิมาร์ซิสม์ (Marxism) และเป็นทฤษฎีที่ส่งอิทธิพลต่อผู้นำคอมมิวนิสต์อย่าง วลาดีมีร์ เลนิน, โจเซฟ สตาลิน และ เหมา เจ๋อตุง ในภายหลัง จนทำให้เกิดการปฏิวัติในรัสเซีย จีน และประเทศอื่นๆ ในศตวรรษที่ 20 อีกด้วย

ในช่วงหนึ่งของชีวิต มาร์กซเขียนงาน Das Kapital หรือ ทุน หนังสือเล่มสำคัญแห่งยุคที่วิพากษ์ วิจารณ์ รวมถึงวิเคราะห์ระบบทุนนิยมอย่างละเอียด โดยศึกษาจากชนชั้นแรงงานในช่วงการปฏิวัติเศรษฐกิจของอังกฤษ

มาร์กซได้อ้างว่าระบบทุนนิยมเกิดขึ้นได้เพราะความเห็นแก่ตัวของนายทุนที่สักแต่จะแสวงหากำไรจนเห็นแรงงานเป็นเพียงเครื่องจักรในขั้นตอนการผลิต ทรัพย์สินกำไรที่ได้จากการค้าขายก็ตกอยู่กับพวกนายทุนจนมาไม่ถึงกลุ่มชนชั้นแรงงาน เขาจึงมีความเห็นว่าคนในสังคมไม่ควรมีทรัพย์สินส่วนตัว เพราะทรัพย์สินส่วนตัวหมายถึงความเห็นแก่ตัว

โดยก่อนหน้าจะร่าง ทุน  ขึ้นมานั้น ยังมีงาน  การก่อรูปของเศรษฐกิจก่อนระบบทุนนิยม  (Pre-Capitalist Economic Formations)  ที่เปรียบเสมือนการอธิบายว่า ทำไมมาร์กซถึงสนใจในระบบทุนนิยม งานชิ้นนี้เป็นการให้แนวในการติดตามและศึกษาว่ามาร์กซใช้หลักฐานและข้อมูลต่างๆ ในทางประวัติศาสตร์และมานุษยวิทยา มาวิเคราะห์และสร้างโมเดลของรูปการณ์สังคมก่อนทุนนิยมอย่างไร




คาร์ล มาร์กซ คือหนึ่งในนักคิดคนสำคัญที่ชี้ให้เห็นถึงการต่อสู้ทางชนชั้นและความอยุติธรรมของระบบทุนนิยมได้ชัดแจ้งอย่างที่ไม่เคยมีใครทำได้มาก่อน

============

คลิกสั่งซื้อ Set บทสรุปทางความคิดของนักคิดระดับโลก



============

การก่อรูปของเศรษฐกิจก่อนระบบทุนนิยม (Pre-Capitalist Economic Formations) - ติดตามและศึกษาว่ามาร์กซใช้หลักฐานและข้อมูลต่างๆ ในทางประวัติศาสตร์และมานุษยวิทยา มาวิเคราะห์และสร้างโมเดลของรูปการณ์สังคมก่อนทุนนิยมอย่างไร

========================

คลิกสั่งซื้อ Set 9 เล่ม บทสรุปทางความคิดของนักคิดระดับโลก ในราคาพิเศษ

อ่านเพิ่มเติม นักปรัชญาการเมือง 7 คน ที่ผู้ใฝ่หาความรู้ต้องไม่พลาด
========================

สินค้าใหม่ คลิก กระเป๋าผ้า ลายนักปฏิวัติ The Revolutionaries



ยางลบรูป Marx (Eraser)



========================

New TOTE BAG 2020  พร้อมจัดส่ง มีให้เลือก 5 ลาย ด้วยเอกลักษณ์เฉพาะตัว ไม่ซ้ำใครแน่นอน

ขนาดใหญ่จุใจ พิมพ์ลายเต็มถุง แข็งแรงทนทาน

ราคาพิเศษคลิก http://bit.ly/3b907Cu



----------------

สำนักพิมพ์สมมติขอเชิญชวน 'ผู้อ่าน' ร่วมสวมใส่ เสื้อไม่ไว้วางใจ และ เสื้อยืดคำประกาศของคณะราษฎร เพื่อเป็นหนึ่งสัญลักษณ์ของการไม่สยบยอมต่ออำนาจอันไม่ชอบมาพากล


1. เสื้อศรัทธา แบบใหม่ล่าสุด

ศรัทธาที่เราเคยมีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจลดน้อยถอยลง...กระทั่งจางหาย  คลิก



2. เสื้อไม่ไว้วางใจ


คลิก http://bit.ly/39417qK



● เสื้อยืดสีดำแสดงความเงียบ สงบ ทว่ามีนัยถึงความแข็งแกร่ง ไม่โอนอ่อน และไม่สยบยอม
● ข้อความบนเสื้อยืดสีดำ ทำหน้าที่ส่งเสียงกู่ตะโกนถึงความต้องการและการต่อต้านอย่างเงียบสงบที่สุด!!!

=============================

3. เสื้อยืดคำประกาศคณะราษฎร

ร่วม
ระลึกถึงหลักการตั้งต้นของ 'คณะราษฎร' กลุ่มคณะผู้นำประชาธิปไตยมาสู่สังคมไทย ในวาระครบรอบ 88 ปี อภิวัฒน์ 2475


คลิกสั่งซื้อ เสื้อยืดคำประกาศคณะราษฎร

กล่าวสำหรับข้อความ 'พึงรู้เถิดว่าประเทศเรานี้เป็นของราษฎร' คือวรรคทองวรรคหนึ่งที่ปรากฏอยู่ใน 'คำประกาศคณะราษฎร' ที่ถูกนำมาขณะย่ำรุ่งของวันที่ 24 มิ.ย. 2475

และหากใครก็ตามที่ได้อ่าน 'คำประกาศฯ' จะเห็นว่า ข้อความ 'พึงรู้เถิดว่าประเทศเรานี้เป็นของราษฎร' นำหน้าประโยคที่ต่อท้ายมาอย่างมีนัยสำคัญ!!!

ถึงเวลายืนยันตัวตน และชัดเจนในสิ่ง 'จุดยืน' และ 'อุดมคติตั้งต้น'

ร่วมเป็นหนึ่งในผู้ครอบครองเสื้อ 'พึงรู้เถิดว่าประเทศเรานี้เป็นของราษฎร'


Powered by MakeWebEasy.com
เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ของท่าน ท่านสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว  และ  นโยบายคุกกี้